2018.04.19

B2B Marketing

วิธีการที่จะประสบความสำเร็จในการจัดนิทรรศการในกรุงเทพมหานคร

ห้ามพิจารณาเลือกจาก “ดีไซน์” ที่มองเห็น ให้พิจารณาว่า “เรื่องราวโดยรวม” เพื่อจะทำให้บรรลุเป้าหมายนั้นเป็นไปโดยดีหรือไม่

– ค้นหาลูกค้าที่มีโอกาสเป็น Hot lead ได้จากข้อมูลประวัติย้อนหลังของการเข้าชมและสร้างกิจกรรมการขายให้ได้
– เก็บข้อมูลให้ได้ว่าใคร ได้ดูเนื้อหาอะไรและดาวน์โหลดอะไรไป
– เตรียม website ขึ้นมาพิเศษเพื่อติดตามงานอีเว้นท์
ทั้งๆที่ใช้งบประมาณมาจัดงานนิทรรศการ จึงไม่ควรแค่จัดงานเหมือนแค่ตั้งบูทไว้เฉยๆ ดังนั้นเรามาเพิ่มอะไรบางอย่างที่ทำให้เห็นผลลัพธ์ชัดเจนกันดีกว่า
“แผนติดตามผล”

-รวบรวมข้อมูลจากนามบัตรที่ได้จากผู้เข้าชม
-แสดงความเป็นมิตรต่อผู้เข้าเยี่ยมชม
-ชี้แจงบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละคนให้ชัดเจน
-พนักงานที่ดูแลทุกคนสามารถแชร์เป้าหมายที่ตั้งเป้าไว้ของบูทได้
สิ่งต่อไปนี้คือปัจจัยที่ควรนำเสนอเพื่อประสบการณ์ที่ดีที่สุด
งานนิทรรศการคือสถานที่ที่ผู้เข้าชมงานสามารถสัมผัสสินค้าหรือบริการได้จริงๆ
“วางแผนการบริหาร”

-วางแผนการให้ผู้เข้าชมเดินเข้าง่ายและเดินออกจากบูทสะดวกเป็นเรื่องสำคัญกว่าที่คิด
– ทำความชัดเจนว่าบูทที่จัดแสดงนั้นจัดเพื่อแสดงอะไรอยู่ (หากเพียงแค่ชื่อบริษัทอย่างเดียวก็ยังไม่เข้าใจ)
– มีฟังค์ชั่นอะไรของบูทที่ช่วยบอกเรื่องราวทั้งหมดของการออกบูทได้บ้าง
ประเด็นสำคัญของการออกแบบ คือการทำให้ ดูเลิศ ดูดี ก็จริง แต่ผู้เข้าชมงานไม่ได้เข้ามาดูว่าการออกแบบของบูทนั้นดีหรือไม่ ดังนั้น
“การออกแบบบูท”

สิ่งสำคัญประการแรกก่อนสิ่งอื่นใด คือการสร้างเรื่องราว (story) ภาพรวมทั้งหมดของงานนิทรรศการให้ได้ก่อน
-ถ้าเราอยากจะสื่อถึงผู้มาชมงานโดยสรุปเป็นคำพูดเดียว สิ่งที่จะพูดคืออะไร?
– คุณเข้าใกล้เป้าหมายโดยการแก้ปัญหาอะไรหรือไม่?
-ประเด็นปัญหาในปัจจุบันคืออะไร?
-เป้าหมายที่กำลังตั้งเป้าอยู่สำหรับการออกงานคืออะไร?
“กำหนดเป้าหมายของการออกงานนิทรรศการ”

วิธีการที่มากเกินไปโดยมีเป้าหมายเพียงเพื่อเป็นผู้ที่โดดเด่นในการจัดงานนิทรรศการที่ญี่ปุ่นยังมีปัญหาอยู่ แต่อย่างน้อย ถ้าเราลองจัดงานนิทรรศการโดยพิจารณามุมมองต่อไปนี้อาจดีไม่น้อย
ทำให้คิดว่าทั้งๆที่ออกงานตามงบประมาณของฝ่ายการตลาดแล้ว รู้สึกว่าไม่คุ้มค่าเท่าไหร่
เนื่องจากมีเพียงไม่กี่เสียงความคิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ดังนั้นหากนำมาคิดถึงภาพรวมแล้วน่าจะมีปัญหาอยู่ แต่เมื่อไปดูสถานที่จัดงานนิทรรศการแล้วและหลังจากได้รับฟังเสียงตอบรับที่ว่า ก็ไม่น่ามีอะไรต้องติดใจ
ได้คำตอบประมาณว่า “ครั้งที่แล้วก็มาออกบูท” “อยากพัฒนาความรู้เพิ่มขึ้นอีก” ทำให้รู้ได้ว่าไม่มีการบรรลุเป้าหมายของการออกบูทอย่างเป็นรูปธรรม
สามารมชมงานได้อย่างสบายๆ โดยไม่ต้องรู้สึกถึงการแข่งขันกันแบบญี่ปุ่น หลังจากสอบถามข้อมูลของบูทหลายบริษัทเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการออกงานจัดนิทรรศการครั้งนี้ด้วยความสนใจ
ผมมีมุมมองว่างานจัดนิทรรศการเป็นสถานที่ที่ได้สัมผัสสินค้าและการบริการได้ แต่เมื่อได้มาเห็นแบบนี้จึงทำให้รู้สึกว่างานนิทรรศการน่าจะเป็นเช่นนี้
กล่าวคือเราสามารถเดินชมบูทนิทรรศการได้เรื่อยๆ เมื่อเทียบกับงานนิทรรศการของญี่ปุ่นที่แฝงไปด้วยอารมณ์การแข่งขันกัน
บรรยากาศค่อนข้างแตกต่างจากงานจัดนิทรรศการของญี่ปุ่น

3. ไม่มีการนำเสนอตัวสินค้าและบริการ
2. สามารถเข้าถึงบูธได้ง่าย
1. บูธจัดแสดงเป็นบูธที่ใช้สำหรับเจรจาธุรกิจรวมถึงการแนะนำพร้อมกับเป็นที่จำหน่ายในตัว
ผมเองได้ไปดูงานจัดบูทนิทรรศการหลายงานแล้ว และมีอยู่สามประเด็นที่ได้สังเกตเห็นคือ
กรุงเทพมหานครมีสถานที่จัดแสดงนิทรรศการที่เพรียบพร้อม เช่น ไบเทค ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยมีการจัดบูทแสดงนิทรรศการมากกว่า 50 รายการในหนึ่งปี ซึ่งเป็นการจัดการตลาดแบบ B2B อย่างเดียว
การตลาดแบบ B2B แม้แต่ในกรุงเทพ ก็มีความแตกต่างกันไปตามแต่ละบริษัท

Bigbeat ได้ให้การสนับสนุนงานการตลาดแบบ B2B จำนวนมากที่ญี่ปุ่น ทั้งสองด้าน ได้แก่ ด้านดิจิทัลและการปฏิบัติงานจริง
เราจึงขอนำเสนอ “4 ขั้นตอน เพื่อบรรลุเป้าหมายของการจัดงานนิทรรศการ” โดยยกตัวอย่างจากที่มี โดยตั้งคำถามว่า “เราจะประสบความสำเร็จจากงานนิทรรศการได้อย่างไร”

สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ตามเว็บไซด์ด้านล่าง
หากท่านสนใจ โปรดอย่าพลาดข้อมูลดีๆของเรา

ดาวน์โหลดฟอร์มสำหรับเอกสาร “B-marketing Service”